เรื่องน่ารู้

อาหารกับการปล่อยก๊าซเรือนกระจก

“ให้ทุกมื้อของคุณเป็นอีก 1 แรงที่ช่วยไม่ให้โลกร้อน มาร่วมสร้างสังคมคาร์บอนต่ำไปด้วยกัน” เชื่อว่าทุกคนบนโลกนี้ล้วนเป็น “สายกิน”

สผ ชี้แจง การดำเนินโครงการเร่งด่วนเพื่อแก้ไขปัญหา  การบุกรุกทำลายทรัพยากรป่าไม้ของประเทศ เมื่อปี 2552 เป็นการดำเนินงานตามระเบียบและขั้นตอนอย่างครบถ้วน

นายพิรุณ สัยยะสิทธิ์พานิช เลขาธิการสำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม กล่าวว่า ตามที่ ได้มีการนำเสนอข่าวเกี่ยวกับ

เขื่อนและอ่างเก็บน้ำ กับ EIA

เมื่อวันเสาร์ที่ผ่านมาผู้เขียนได้แวะเที่ยวที่เขื่อนขุนด่านปราการชล จังหวัดนครนายก มาค่ะ จากจุดจอดรถเดินไปจุดชมวิวสันเขื่อนมีร้านกาแฟ khundan coffee

การใช้ประโยชน์พื้นที่ที่ผ่านการทำเหมืองแร่

การทำเหมืองแร่ เป็นกิจกรรมที่มีการนำเอาทรัพยากรแร่ที่มีอยู่ในธรรมชาติมาใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ ซึ่งก่อให้เกิดการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม เช่น รายได้จากการขายแร่

เส้นทางฟื้นเศรษฐกิจ เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

การมุ่งเน้นให้ความสำคัญกับการพัฒนาทางเศรษฐกิจอย่างเต็มที่ โดยกำหนดทิศทางและปรับโครงสร้างเศรษฐกิจ ทั้งการผลิต การใช้ปัจจัยการผลิตด้านแรงงาน ทุน และทรัพยากรธรรมชาติ

สินค้าที่ไม่มีส่วนทำลายป่าของสหภาพยุโรป

ร่างกฎหมายว่าด้วยสินค้าที่ปลอดจากการตัดไม้ทำลายป่า กำหนดให้ผู้ผลิตต้องแสดงหลักฐานการตรวจสอบสถานะผลิตภัณฑ์ (Due Diligence) ว่าไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการทำลายป่า

ภาพยนตร์: การเพิ่มความตระหนักปัญหาโลกร้อน

Cli-Fi Movies หรือ Climate Fiction Movies เป็นภาพยนตร์ที่มีเนื้อหาเกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ นายวัชรพล พุ่มแก้ว นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการพิเศษ

พื้นที่สงวนชีวมณฑล

ที่มาภาพ: เพจ Facebook เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเชียงดาว จ.เชียงใหม่ หัวใจสำคัญของพื้นที่สงวนชีวมณฑล คือ ต้องมี ‘มนุษย์’ อยู่ร่วมกับ ‘ธรรมชาติ’ มีการบริหารจัดการพื้นที่

รับชมการประชุม COP27

เว็บไซต์ในการรับชมการประชุมรัฐภาคีกรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ สมัยที่ 27 (COP27) https://shorturl.asia/fzvbV

เที่ยวแบบรักษ์โลก เที่ยวแบบ “Low Carbon Tourism”

พายซับบอร์ดล่องไปสำรวจป่าชายเลน (เครดิตภาพ: Peeranut Pornnisen) สภาวะโลกร้อนกำลังเป็นปัญหาใหญ่ที่ทุกคนกำลังเผชิญ หลายคนคิดว่าสาเหตุมาจากภาคอุตสาหกรรม

สะกิดให้เปลี่ยน

ปัจจุบัน สภาพแวดล้อมมีการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของคนมากขึ้น เช่น การมีกองขยะในชุมชน น้ำเสียในลำคลองส่งกลิ่นเหม็น

ความท้าทายในการจัดการขยะชุมชนของหมู่บ้านไร้แผ่นดินบางชัน

การเติบโตของธุรกิจท่องเที่ยวที่พัฒนาขึ้นอย่างต่อเนื่องของประเทศไทย มีนโยบายการโปรโมตเมืองรองเพื่อกระจายรายได้ไปสู่จังหวัดที่เคยถูกมองข้ามในอดีต

“เมืองยโสฯ โลว์คาร์บอน” ยโสธร: เมืองคาร์บอนต่ำของประเทศไทย

ในช่วงทศวรรษที่ผ่านมา หลายประเทศทั่วโลกรวมทั้งประเทศไทยกำลังให้ความสำคัญกับการดำเนินงานด้านคาร์บอนต่ำ (low-carbon practices) เพื่อบรรลุเป้าหมาย

ข้าวอินทรีย์กับวิถีการอนุรักษ์นกกระเรียนพันธุ์ไทย

ประชากรนกกระเรียนพันธุ์ไทยได้หวนกลับคืนสู่ธรรมชาติอีกครั้ง เนื่องมาจากความร่วมมือร่วมใจของหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน สถาบันการศึกษา องค์กรพัฒนาเอกชน และชุมชนท้องถิ่น

อาหาร: อดีต | ปัจจุบัน | อนาคต

มนุษย์เริ่มต้นจากการ “กินเพื่ออยู่” เพื่อให้มีพลังงานมากพอที่จะออกไปล่าสัตว์และหาอาหารไว้กินในมื้อต่อไป ก่อนที่จะเริ่มรู้จักการทำเกษตร เพาะปลูก เลี้ยงสัตว์

พื้นที่สำคัญเพื่อการอนุรักษ์พืช: กลไกการบริหารจัดการความหลากหลายของพืชอย่างยั่งยืน

การกำหนดหลักเกณฑ์การพิจารณาพื้นที่ที่มีความสำคัญสำหรับความหลากหลายของพืช หรือเรียกว่าพื้นที่สำคัญเพื่อการอนุรักษ์พืช เป็นการดำเนินงานโดย Plantlife International และ IUCN

เปิดรับสมัครผู้ที่สนใจร่วมงานกับ ASEAN สมัครเข้าร่วมโปรแกรม The ACB Secondment Programme 2022-2023

ขอเชิญชวนบุคลากรภาครัฐ สถาบัน รวมถึงองค์กรอื่นๆ สนใจร่วมงานกับ ASEAN ที่เกี่ยวข้องกับความหลากหลายทางชีวภาพ อายุระหว่าง 25-55 ปี สมัครเข้าร่วมโปรแกรม The ACB

ขยะทะเล…แก้ได้ที่ตัวเรา

ไทยติดอันดับ 1 ใน 10 ประเทศที่ทิ้งขยะพลาสติกลงทะเลมากที่สุดในโลก ซึ่งมีปริมาณมากถึง 22.8 ล้านกิโลกรัม (ข้อมูล ณ ปี 2564)

การจัดการมูลฝอยติดเชื้อจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019: กรณีศึกษา เทศบาลเมืองศรีราชา

ประเทศไทยเผชิญการระบาดของโรคโควิด 19 อย่างต่อเนื่องมาตั้งแต่ พ.ศ. 2563 โดยในเดือนเมษายน พ.ศ. 2564 พบการระบาดระลอกใหม่ที่เร็วกว่าและรุนแรงกว่าระลอกแรก

ก้าวสู่อนาคตกับนวัตกรรม E-Fund Map

กองทุนสิ่งแวดล้อม เป็นหนึ่งในหน่วยงานภาครัฐที่เป็นกลไกทางการเงินที่สนับสนุนงบประมาณให้กับภาคส่วนต่างๆ อาทิ ส่วนราชการ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ภาคเอกชน

น้ำพางโมเดล คืนชีวิตใหม่ให้ป่าเมืองน่าน

วิกฤติไฟป่าเป็นปัญหาต่อเนื่องที่พบเป็นประจำทุกปี โดยเฉพาะในจังหวัดทางภาคเหนือของประเทศไทยที่ไฟป่าทำลายพื้นที่ผืนป่าธรรมชาติเป็นจำนวนมาก แต่ชาวบ้านในตำบลน้ำพาง อำเภอแม่จริม

ชุมชนต้นแบบ “เทศบาลตำบลบ้านคลอง” เปลี่ยนขยะเป็นเชื้อเพลิง

“ขยะ” เป็นเรื่องใกล้ตัวที่เราหลงลืมว่าตัวเราเป็นผู้ก่อให้เกิดขยะ จากความต้องการความสะดวกสบาย จนทำให้มีปริมาณขยะเพิ่มมากขึ้น

ลดโลกร้อนด้วย Carbon Neutrality และ Net Zero Emissions

ในการประชุม COP26 หรือ การประชุมรัฐภาคีกรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ สมัยที่ 26 ณ เมืองกลาสโกว์ ประเทศสกอตแลนด์ มีผู้แทนจากกว่า 200

เปิดภารกิจสำคัญใน “การอนุรักษ์นกแก้วโม่งฝูงสุดท้าย สัตว์ใกล้สูญพันธุ์” ของชุมชนวัดสวนใหญ่

ภาพนกแก้วโม่งเกาะบนต้นยางนาสูงเสียดฟ้าในวัดสวนใหญ่ อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี เป็นภาพคุ้นตาของชาวบ้านแถวนั้น

E-Waste ขยะใกล้ตัวที่รอการแก้ปัญหา

Image by Maruf Rahman from Pixabay ปัจจุบัน ปัญหาขยะที่สำคัญที่อยู่ใกล้ตัวและเป็นขยะอันตรายที่กำจัดยากแอบซ่อนอยู่ ขยะที่ว่า คือ โทรศัพท์มือถือ แท็บแล็ต

กว่าจะมาเป็น 3 มงกุฎแห่งยูเนสโก

โอกาสที่ประเทศไทยจะได้รับการคัดเลือกให้เป็นดินแดนแห่ง 3 มงกุฎทางธรรมชาติของยูเนสโก (The UNESCO Triple Crown) หรือเป็นพื้นที่ที่มีการอนุรักษ์ตามโปรแกรมขององค์การเพื่อศึกษา

การบริหารจัดการทรัพยากรน้ำเชิงพี้นที่ “ลุ่มน้ำยม” อย่างเป็นระบบ

น้ำ เป็นทรัพยากรธรรมชาติที่เป็นผลิตผลจากธรรมชาติที่ไม่สามารถผลิตเพิ่มหรือลดปริมาณที่มีอยู่ในธรรมชาติได้เองตามต้องการ

“ป่าในเมือง” (Urban Forest)

ในปัจจุบัน เมืองมีการขยายตัวเข้าไปในพื้นที่ชนบท รวมถึงประชาชนต้องการย้ายถิ่นฐาน   เข้ามาอยู่อาศัยในตัวเมืองมากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นเมืองหลวงของประเทศ คือ กรุงเทพมหานครและปริมณฑล

เมื่อเหมืองแร่กับชุมชนอยู่ร่วมกัน กรณีศึกษาตำบลหน้าพระลาน จังหวัดสระบุรี

แร่เป็นทรัพยากรธรรมชาติชนิดหนึ่งที่มีความสำคัญต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศและเป็นวัตถุดิบพื้นฐานสำหรับอุตสาหกรรมทั้งต้นน้ำ กลางน้ำ และปลายน้ำ

การบริหารจัดการนำ้

วิกฤตน้ำของประเทศไทย ย้อนไปในฤดูแล้ง ปี พ.ศ. 2565 ทำให้มีน้ำไม่เพียงพอต่อการทำการเกษตร โดยเฉพาะในพื้นที่ภาคเหนือตอนล่าง และภาคกลางตอนบน

การจัดการระบบสาธารณสุขภายใต้การแพร่ระบาดของโรคโควิด 19: กรณีศึกษา การจัดการขยะมูลฝอยติดเชื้อของกรุงเทพมหานคร

สภาวะวิกฤติการระบาดของ “โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรคโควิด 19” ถือเป็นโรคติดต่ออุบัติใหม่ ทำให้ทั่วโลกและประเทศไทยอยู่ในสถานการณ์ต้องรับมือกับโรคโควิด 19

ขยะพลาสติก

พลาสติกเป็นบรรจุภัณฑ์ที่ช่วยอำนวยความสะดวกในชีวิตประจำวันของผู้คน กระบวนการผลิตพลาสติกส่วนใหญ่จะมีการใส่สารเติมแต่งและไมโครพลาสติก (Microplastic)

รับสมัครผู้ที่สนใจเข้าร่วมโครงการ the Short-term and Long-term ACB Secondment Programme

ศูนย์อาเซียนว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ (ASEAN Centre for Biodiversity: ACB ) ขอประชาสัมพันธ์เชิญชวนผู้สนใจสมัครเข้ารับการคัดเลือกเป็นผู้แทนไทยในโครงการ the ACB Short-term

แก่งกระจาน คุณค่าความโดดเด่นอันเป็นสากล

พื้นที่กลุ่มป่าแก่งกระจานได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกทางธรรมชาติ เมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม 2564 ในการประชุมคณะกรรมการมรดกโลกสมัยสามัญครั้งที่ 44 ในปี พ.ศ. 2564

โครงการความร่วมมือทางวิชาการ การพัฒนาต้นแบบเมืองสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ

ตามนโยบายส่งเสริมเมืองอัจฉริยะเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตด้วยพื้นฐานเทคโนโลยีและนวัตกรรมให้สอดคล้องกับการเป็น ประเทศไทย 4.0 และยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี

สรุปสาระสำคัญปฏิญญาคุณหมิง

การประชุมสมัชชาภาคีอนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ (CBD COP 15) ได้แบ่งการประชุมออกเป็นสองช่วง โดยช่วงที่ 1 เป็นการประชุมระดับสูงผ่านระบบออนไลน์ ณ สาธารณรัฐประชาชนจีน

จังหวัดไหนมีแหล่งสิ่งแวดล้อมศิลปกรรมเยอะที่สุด

ประเทศไทย มีแหล่งสิ่งแวดล้อมศิลปกรรมอยู่มากมายไม่ว่าจะเป็น ศาสนสถาน แหล่งโบราณคดี ย่านชุมชนเก่า ซึ่งมีอยู่ตามพื้นที่ต่างๆ ของประเทศไทยรวมกันมากถึง 5,085 แห่ง โดย 3

สรุปผลการรับฟังความคิดเห็น เพื่อประกอบการปรับปรุงประกาศ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

สรุปผลการรับฟังความคิดเห็น เพื่อประกอบการปรับปรุงประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมDownload

“มรดกแพลตฟอร์ม” บทบาทของเทคโนโลยีดิจิทัลในการอนุรักษ์ฟื้นฟูย่านชุมชนเก่า

"เทคโนโลยีดิจิทัล" ไม่เพียงแต่เป็นองค์ประกอบสำคัญในการเปลี่ยนแปลงโลกยุคใหม่เท่านั้น ทุกภาคส่วนได้นำเทคโนโลยีนี้เข้าไปประยุกต์ใช้ในการทำงานอย่างรอบด้าน

“แผนแม่บท” ทิศทางของการอนุรักษ์และการพัฒนาเมืองเก่า

กระบวนการสำคัญในการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมศิลปกรรมของประเทศ ที่สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (สผ.)

“บัญชีรายชื่อเบื้องต้น” ขั้นตอนสำคัญของแหล่งมรดกโลกในอนาคต

ในอนาคต ประเทศไทยอาจจะมี แหล่งมรดกโลกเพิ่มขึ้นจาก 6 แห่ง ที่ได้ประกาศไปแล้วอย่าง แหล่งมรดกโลกทางวัฒนธรรม อุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัยและเมืองบริวาร

แหล่งมรดกโลกทางธรรมชาติ พื้นที่แห่งความหลากหลายและยั่งยืน

นอกเหนือจากพื้นที่กลุ่มป่าแก่งกระจาน ซึ่งได้รับการประกาศเป็นแหล่งมรดกโลก (World Heritage Site) จากยูเนสโกหรือ องค์การเพื่อการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ

“แก่งกระจาน” กว่าจะเป็นพื้นที่มรดกโลกแห่งใหม่

คณะกรรมการมรดกโลกประกาศให้พื้นที่กลุ่มป่าแก่งกระจาน ซึ่งประกอบด้วย พื้นที่จากล่างสุดของอุทยานแห่งชาติกุยบุรี (พื้นที่ 969 ตร.กม.) ในเขตอำเภอกุยบุรี

เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ด้านความหลากหลายทางชีวภาพ ด้วยกลไกที่ยั่งยืน

สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (สผ.) ตระหนักว่า การจัดการความหลากหลายทางชีวภาพ เป็นงานสำคัญที่ เริ่มจากจุดเล็กๆ

จัดการ “ชนิดพันธุ์ต่างถิ่น” อย่างยั่งยืนด้วยฐานข้อมูล

นอกเหนือจากการจัดทำทะเบียนสถานภาพของชนิดพันธุ์ต่างๆ ในระบบนิเวศของแต่ละพื้นที่ในประเทศไทย เพื่อเป็นฐานของข้อมูลทางวิทยาศาสตร์

ปกป้องความหลากหลายทางชีวภาพด้วยระบบคลังข้อมูล

ปี พ.ศ. 2562 สถาบัน Earthwatch องค์กรด้านสิ่งแวดล้อม ออกมาระบุว่า ผึ้ง สิ่งมีชีวิตเล็ก ๆ ซึ่งมีความสำคัญต่อระบบนิเวศ กำลังอยู่ในภาวะที่ถูกคุกคามจนเสี่ยงต่อการสูญพันธุ์

เพิ่มขีดความสามารถรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ กลไกลดก๊าซเรือนกระจกอย่างยั่งยืน

แม้กลไกในการลดก๊าซเรือนกระจก ภายใต้การเจรจาระหว่างประเทศเพื่อบรรเทาปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ตามความตกลงปารีส จะเป็นไปแบบสมัครใจไม่มีกฎบังคับหรือกำหนดระยะเวลา

แผนลดก๊าซเรือนกระจก เป้าหมายของประเทศไทย สู่ความร่วมมือประชาคมโลก

หากมาตรการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก เพื่อควบคุมไม่ให้อุณหภูมิโลกเพิ่มขึ้นเกิน 2 องศาเซลเซียสตาม "ความตกลงปารีส(Paris

ปรับตัวรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ แนวทางที่ต้องเข้าถึงปัญหาเชิงพื้นที่

การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ถือเป็นปัญหาสิ่งแวดล้อมระดับโลก ที่มีผลพวงมาจากกิจกรรมต่าง ๆ ของมนุษย์ โดยเฉพาะด้านเศรษฐกิจ

ขับเคลื่อนองค์กรสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน

วิกฤตสิ่งแวดล้อมที่กำลังเกิดขึ้นในวงกว้าง ปัญหามลพิษ น้ำท่วม ภัยแล้ง ดินเสื่อมสภาพ ฝนกรด ไฟป่า ระบบนิเวศถูกทำลาย ฯลฯ เกิดจากปัญหาที่สะสมมาอย่างยาวนาน

“ชุมชนเก่า” กุญแจสำคัญของการอนุรักษ์อย่างยั่งยืน

อุทัยธานี เป็นเมืองเก่าที่มีประวัติศาสตร์ยาวนาน มีหลักฐานทางด้านประวัติศาสตร์ที่ย้อนไปถึงมนุษย์ยุคก่อนประวัติศาสตร์ เมื่อประมาณ 3,000 ปี ในหลายพื้นที่ เช่น

ดูแลมรดกโลก สิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรม และสิ่งแวดล้อมชุมชน ด้วยกลไกความยั่งยืน

สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (สผ.) เป็นหน่วยงานประสานงานกลางของอนุสัญญาว่าด้วย การคุ้มครองมรดกโลกทางวัฒนธรรมและทางธรรมชาติ

ร่างพระราชบัญญัติความหลากหลายทางชีวภาพ พิมพ์เขียวของความยั่งยืนทางชีวภาพ

ความหลากหลายทางชีวภาพ หมายถึง การมีสิ่งมีชีวิตนานาชนิด นานาพันธุ์ในระบบนิเวศอันเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยที่มีมากมายและแตกต่างกันทั่วโลก หรือการมีชนิดพันธุ์ (species)

กลุ่มป่าแก่งกระจาน มรดกโลก มรดกแห่งมวลมนุษยชาติ

กว่า 16 ปี ที่ประเทศไทยมุ่งมั่น ผลักดันพื้นที่กลุ่มป่าแก่งกระจาน ตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2548 และเข้าสู่การพิจารณาของคณะกรรมการมรดกโลก ถึง 3 ครั้ง ในปี พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2559

เดินหน้าขับเคลื่อนแผนการผลิตและการบริโภคที่ยั่งยืน

หลายประเทศทั่วโลก กำลังเผชิญปัญหาสิ่งแวดล้อมรอบด้านในระดับที่เกินขีดความสามารถที่จะรับมือได้ บางพื้นที่กำลังสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ ปัญหาระบบนิเวศ วิกฤตภูมิอากาศ ฯลฯ

การขับเคลื่อนการดำเนินงานด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

"การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ" สร้างผลกระทบ สร้างความเสียหายในขอบเขตที่กว้างขึ้นและทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นทุกปี และยังได้ลุกลามไปถึงความหลากหลายทางชีวภาพ ระบบนิเวศ

ผลการสำรวจการยอมรับและความเชื่อมั่นต่อระบบการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม

เอกสารแนบ บทสรุปผู้บริหาร (Executive Summary) โครงกาารสำรวจการยอมรับและความเชื่อมั่นต่อระบบการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมของประเทศไทยDownload

แนวทางการกำหนดเงื่อนไขแนบท้าย ใบอนุญาตเป็นผู้มีสิทธิทำรายงาน การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม

การประชุมคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ครั้งที่ ๒/๒๕๖๔ เมื่อวันที่ ๒๖ มีนาคม ๒๕๖๔

สิ่งแวดล้อมธรรมชาติ

ธรรมชาติ ในที่นี้คือ ธรรมชาติที่มีคุณค่าทางวิทยาการและสุนทรียภาพ ที่เกี่ยวข้องเป็นสัณฐานที่สำคัญทางธรณีวิทยาและภูมิศาสตร์ อันเป็นเอกลักษณ์หรือสัญลักษณ์ของท้องถิ่นนั้น ๆ

ย่านชุมชนเก่า

ย่านชุมชนเก่า หมายถึง พื้นที่ทางกายภาพที่แสดงออกถึงลักษณะของการตั้งถิ่นฐาน/ก่อกำเนิดที่แตกต่างกันตามบริบทแวดล้อม ทั้งที่เป็นเมืองหรือในพื้นที่ชนบท

ก๊าซเรือนกระจก

ก๊าซเรือนกระจกมีทั้งที่เกิดเองตามธรรมชาติ (Natural Greenhouse Gas) เช่น ไอน้ำ ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์จากหายใจของสิ่งมีชีวิต เป็นต้น

ข่าวสิ่งแวดล้อม

ข่าวกิจกรรม สผ.

วันสำคัญด้านสิ่งแวดล้อม

เว็บหน่วยงานใน สผ.

จัดซื้อจัดจ้าง

รับสมัครงาน

        

Skip to content