21 เมษายน 2563 ไขความกระจ่างไข่ไดโนเสาร์เก่าแก่ที่สุด

ที่มา: https://www.thairath.co.th/news/foreign/1825784

ในปี พ.ศ. ๒๕๑๙ มีการค้นพบซากดึกดำบรรพ์หรือฟอสซิลไข่ไดโนเสาร์แมสโสสปอนดิลัส คารินาตัส (Massospondylus carinatus) เป็นชนิดกินพืช มีขนาดความยาว ๕ เมตร เชื่อว่ามีชีวิตอยู่เมื่อ ๒๐๐ ล้านปีก่อน โดยพบในอุทยานแห่งชาติโกลเดน เกต ไฮแลนด์ (Golden Gate Highlands) จังหวัดฟรีสเตทประเทศแอฟริกาใต้ ล่าสุด ทีมนักวิทยาศาสตร์นานาชาตินำโดยมหาวิทยาลัยวิทวอเตอร์สแรนด์ ในประเทศแอฟริกาใต้ สร้างรายละเอียดเลียนแบบกะโหลกศีรษะยาว ๒ ซม. ของตัวอ่อนไดโนเสาร์เก่าแก่ที่สุดในแบบสามมิติ (3-D) โดยใช้เทคนิครังสีเอกซ์จากเครื่องเร่งอนุภาคแบบซินโครตรอนอันทรงพลังของหน่วยงาน European Synchrotron (ESRF) ในเมืองเกรอน็อบ ประเทศฝรั่งเศส วงแหวนของอิเล็กตรอนที่มีความยาว ๘๔๔ ม. เดินทางด้วยความเร็วแสง และปล่อยลำแสงรังสีเอกซ์กำลังสูง สามารถสแกนแบบไม่ทำลายฟอสซิล โดยตัวอ่อนถูกสแกนอย่างละเอียดแบบที่ไม่เคยมีมาก่อน นักวิจัยเชื่อว่า ตัวอ่อนในไข่เหล่านั้นตายก่อนการฟักตัว และยังสังเกตเห็นความคล้ายคลึงกันกับการพัฒนาตัวอ่อนพัฒนาของญาติไดโนเสาร์ที่ยังมีชีวิต เช่น จระเข้ ไก่ เต่า กิ้งก่า จากการเปรียบเทียบกระดูกของกะโหลกศีรษะพบว่า ตัวอ่อนไดโนเสาร์แมสโสสปอนดิลัส คารินาตัส นั้นอายุน้อยกว่าที่เคยคิดไว้มาก และมีอัตราการฟักตัวอยู่ที่ร้อยละ 60 นอกจากนี้ตัวอ่อนแต่ละตัวมีฟัน ๒ ชนิดอยู่ในขากรรไกรที่กำลังเติบโต

เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้เพื่อปรับปรุงประสบการณ์ของคุณ เราจะถือว่าคุณรับได้กับเรื่องนี้ แต่คุณสามารถเลือกไม่รับได้หากต้องการ ยอมรับ อ่านเพิ่มเติม

Privacy & Cookies Policy
slot online situs slot gacor hari ini daftar istanaslot https://buletin303.com/ https://134.209.107.98:777/ https://188.166.233.138/

https://gangster4d.netlify.app/

gangster4d slot

gangster4d

Skip to content