สรุปรายงานสถานการณ์คุณภาพสิ่งแวดล้อมประจำปี พ.ศ. 2565 EP 1 ทรัพยากรดินและการใช้ที่ดิน

ทรัพยากรดิน ดินส่วนใหญ่เป็นเขตดินที่มีศักยภาพสำ หรับการเกษตร คิดเป็นร้อยละ 46.35 แต่ดินในบางพื้นที่ มีความอุดมสมบูรณ์ต่ำ ทั้งจากสภาพธรรมชาติและจากการใช้ที่ดินไม่เหมาะสม โดยเฉพาะการปลูกพืชเศรษฐกิจในพื้นที่ที่ไม่ เหมาะสม มีดินที่ปนเปื้อนสารเคมีทางการเกษตร ซึ่งใน พ.ศ. 2564 มีการนำ เข้าปุ๋ยเคมีและนำ เข้าวัตถุอันตรายทางการเกษตรเพิ่มขึ้นจาก พ.ศ. 2563 เพื่อทดแทนวัตถุอันตรายที่มีการยกเลิกและจำ กัดการใช้ส่วนการใช้ที่ดินของประเทศส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ เกษตรกรรม พบว่า มีพื้นที่ลดลงในช่วง พ.ศ. 2562-2564 ขณะที่พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร้าง และพื้นที่อื่น ๆ มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น

46.4 % เป็นที่ดินที่มีศักยภาพสำหรับการเกษตร

การใช้ที่ดินในประเทศไทยมากที่สุด 56% เป็นพื้นที่เกษตรกรรมมากที่สุด

การเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดิน

- ชุมชนและสิ่งปลูกสร้างเพิ่มขึ้น 5.6 %

- แหล่งน้ำเพิ่มขึ้น 4.8 %

- ป่าไม้ลดลง 0.5 %

- เกษตรกรรมลดลง 0.4 %

การดำเนินงานที่เกี่ยวข้อง

- จัดทำ (ร่าง) นโยบายและแผนการบริหารจัดการที่ดินและทรัพยากรดินของประเทศ (พ.ศ. 2566-2580)

- ขับเคลื่อนแผนปฏิบัติการด้านเกษตรอินทรีย์ พ.ศ. 2560-2565 และจัดทำ (ร่าง) แผนปฏิบัติการด้านเกษตรอินทรีย์ 2566-2570

- จัดทำเป้าหมายและตัวชี้วัดเพื่อกำหนดมาตรการการจัดการที่ดินเสื่อมโทรมในระดับพื้นที่

- จัดทำแผนป้องกันการชะล้างพังทลายของดินระดับลุ่มน้ำ

- ศึกษารูปแบบและกลไกลสนับสนุนการสร้างมูลค่าที่ดินที่รัฐจัดให้กับประชาชน

- พัฒนาเกษตรอินทรีย์วิถีพื้นบ้านให้ได้มาตรฐานขยายผล และเพิ่มพื้นที่

- ปรับปรุงและจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในพื้นที่เสี่ยง

- ร่วมกับประเทศอาเซียนขับเคลื่อนการจัดการที่ดินอย่างยั่งยืน

? ทรัพยากรดิน ดินส่วนใหญ่เป็นเขตดินที่มีศักยภาพสำ หรับการเกษตร คิดเป็นร้อยละ 46.35 แต่ดินในบางพื้นที่ มีความอุดมสมบูรณ์ต่ำ ทั้งจากสภาพธรรมชาติและจากการใช้ที่ดินไม่เหมาะสม โดยเฉพาะการปลูกพืชเศรษฐกิจในพื้นที่ที่ไม่ เหมาะสม มีดินที่ปนเปื้อนสารเคมีทางการเกษตร ซึ่งใน พ.ศ. 2564 มีการนำ เข้าปุ๋ยเคมีและนำ เข้าวัตถุอันตรายทางการเกษตรเพิ่มขึ้นจาก พ.ศ. 2563 เพื่อทดแทนวัตถุอันตรายที่มีการยกเลิกและจำ กัดการใช้ส่วนการใช้ที่ดินของประเทศส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ เกษตรกรรม พบว่า มีพื้นที่ลดลงในช่วง พ.ศ. 2562-2564 ขณะที่พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร้าง และพื้นที่อื่น ๆ มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น

46.4 % เป็นที่ดินที่มีศักยภาพสำหรับการเกษตร

การใช้ที่ดินในประเทศไทยมากที่สุด 56% เป็นพื้นที่เกษตรกรรมมากที่สุด

การเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดิน

– ชุมชนและสิ่งปลูกสร้างเพิ่มขึ้น 5.6 %

– แหล่งน้ำเพิ่มขึ้น 4.8 %

– ป่าไม้ลดลง 0.5 %

– เกษตรกรรมลดลง 0.4 %

การดำเนินงานที่เกี่ยวข้อง

– จัดทำ (ร่าง) นโยบายและแผนการบริหารจัดการที่ดินและทรัพยากรดินของประเทศ (พ.ศ. 2566-2580)

– ขับเคลื่อนแผนปฏิบัติการด้านเกษตรอินทรีย์ พ.ศ. 2560-2565 และจัดทำ (ร่าง) แผนปฏิบัติการด้านเกษตรอินทรีย์ 2566-2570

– จัดทำเป้าหมายและตัวชี้วัดเพื่อกำหนดมาตรการการจัดการที่ดินเสื่อมโทรมในระดับพื้นที่

– จัดทำแผนป้องกันการชะล้างพังทลายของดินระดับลุ่มน้ำ

– ศึกษารูปแบบและกลไกลสนับสนุนการสร้างมูลค่าที่ดินที่รัฐจัดให้กับประชาชน

– พัฒนาเกษตรอินทรีย์วิถีพื้นบ้านให้ได้มาตรฐานขยายผล และเพิ่มพื้นที่

– ปรับปรุงและจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในพื้นที่เสี่ยง

– ร่วมกับประเทศอาเซียนขับเคลื่อนการจัดการที่ดินอย่างยั่งยืน

ติดตามสถานการณ์คุณภาพสิ่งแวดล้อมเพิ่มเติมได้ที่

รายงานสถานการณ์คุณภาพสิ่งแวดล้อม : https://www.onep.go.th/publication-soe/

Infographic : https://www.onep.go.th/book/info-soe65/

วีดีทัศน์ : https://www.youtube.com/watch?v=j7v75orvqa8

ฐานข้อมูล : http://env_data.onep.go.th/

#รายงานสถานการณ์คุณภาพสิ่งแวดล้อม

#สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม#สผ

#OnepThailand

เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้เพื่อปรับปรุงประสบการณ์ของคุณ เราจะถือว่าคุณรับได้กับเรื่องนี้ แต่คุณสามารถเลือกไม่รับได้หากต้องการ ยอมรับ อ่านเพิ่มเติม

Privacy & Cookies Policy
slot online situs slot gacor hari ini daftar istanaslot https://buletin303.com/ https://134.209.107.98:777/ https://188.166.233.138/

https://gangster4d.netlify.app/

gangster4d slot

gangster4d

Skip to content